Wat Phaya Mangrai, Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand
วัดพญามังราย เวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
                    
<^>>>>^>
 

Wat Phaya Mangrai Ruins (DTHCM0810)
วัดพญามังราย ซากปรักหักพัง

Wat Phaya Mangrai Wihan Ruins (DTHCM0811)
วัดพญามังราย วิหาร ซากปรักหักพัง
Jian Zhe Li
วัดพญามังราย

Wat Phaya Mangrai Chedi Ruins (DTHCM0812)
วัดพญามังราย เจดีย์ ซากปรักหักพัง

Wat Phaya Mangrai Ubosot Ruins (DTHCM0813)
วัดพญามังราย อุโบสถ ซากปรักหักพัง
 
Wat Phaya Mangrai, วัดพญามังราย, is located in Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand.
วัดพญามังราย อยู่ตำบลช้างคลานอำเภอสารภีจังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย

From an historical marker at the site of Wat Phaya Mangrai and Wat Phra Chao Ong Dam:

                                        Wat Phra Chao Ong Dam-Phaya Mangrai

     The temple got its name "Phra Chao Ong Dam" becaues of a burnt bronze Buddha image found in the area (Phra Chao in a northern dialect refers to the Buddha image). Another name used by the local people is "Phaya Mangrai", the name of the king who established Wiang Kum Kam. This temple is locaated in the area inside of and to the northwest of Wiang Kum Kam. The Department of Fine Arts excavated and restored this temple in 1989-1990.
     The remains of the group of ruins known as Wat Phya Chao Ong Dam consist of a Vihara, a Chedi and square foundations. The Vihara was built in a retangular shape. A balustrade of the front stairway of the Vihara has a stucco spiral design (Tuo Ngae, a kind of Thai decorative pattern) as decoration. The Chedi, which is situated at the rear of the Vihara was constructed with a square base with indented corners on top of an unadorned lower base. In addition, about 5 meters to the south, the area has remnants of three rectangular foundations connected by pathways.
     The remains in the group known as Wat Phaya Mangrai are situated on the south side of the first group. They consist of a porch of the main entrance, a boundary wall, a Cedi and an ordination hall (Ubosot). The Vihara, which faces the east has the Chedi built at the rear. The Chedi has a square base with indented corners which supported a relic chamber with a niche for a Buddha image in each direction.
     About 100 meters from the front of these ruins is a trace of the old Ping River channel, together with a dike and a small pavilion. Monuments in the area insist that in the past this temple was a big monastery and an import one in Wiang Kum Kam. However, its other architectural structures may have been covered by earth or completely destroyed. These temples are dated to the 15th-17th centuries A.D.

                                        วัดพระเจ้าองค์ดำ-พญามังราย
     ชื่อ "พระเจ้าองค์ดำ" มาจากคำเรียกพระพุทธรูปองค์หนึ่งที่ขุดพบ ลักษณะเป็นพระพุทธรูปสำริดมีสีดำจากการถูกไฟไหม้ ในภาษาเหนือเรียกพระพุทธรูปว่า "พระเจ้า" ชาวบ้านจึงเรียกชื่อวัดนี้ว่าวัดพระเจ้าองค์ดำ สำหรับชื่อ "พญามังราย" นั้น ชาวบ้านเรียกตามพระนามของพญามังรายผู้ทรงสร้างเวียงกุมกาม
     วัดพระเจ้าองค์ดำ-พญามังราย ดั้งอยู่ในเขตเวียงกุมกามด้านทิศตะวันตกาฉียงหนือ กรมศิลปากรเข้าดำเนินงานขุดแต่งและบูรณะเมื่อปื พ.ศ. ๒๕๓๒-๒๕๓๓ โบราณสถานแบ่งออกเป็น ๒ กสุ่ม คือกลุ่มพระเจ้าองค์ดำและกสุ่มพญามังราย
     โบราณสถานกถุ่มพระเจ้าองค์ดำ ประกอบด้วย วิหาร เจดีย์ และกถุ่มอาคารรูปสี่เหลี่ยม วิหารมีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ที่ห้วบันไดด้านหน้าประดับปูนปั้นรูปตัวเหงา เจดีย์ตั้งอยู่หลังวิหาร เป็นเจดีย์ฐานสี่เหลี่ยมยกเก็จตั้งอยู่บนฐานเขียงสี่ยม ห่างออกไปทางทิศใต้ประมาณ ๕ เมตร มีฐานอาคารรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าอีก ๓ หล้ง โดยมีทางดินเชื่อมต่อถึงกันได้
     โบราณสถานกถุ่มพญามังราย ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของโบราณสถานกลุ่มพระเจ้าองค์ดำประกอบด้วล ซุ้มประตูโขง กำแพงแก้ว วิหาร เจดีย์ และอุโบสถ วิหารห้นหน้าไปทางทิศตะวันออกเจดีย์ตั้งอยู่หลังวิหาร ถักษณะเป็นฐานทรงสี่เหลี่ยมจัตุรัสยกเก็จรองรับเรือนธาตุที่มีซุ้มพระ ๔ ด้าน
     ห่างออกไปประมาณ ๑๐๐ เมตร ทางด้านหน้าของโบราณสถานทั้งสองกลุ่มนี้ เป็นลำน้ำสาขาแม่น้ำปิง (ปิงห่าง) มีคันดินกั้นน้ำและศาลาริมน้ำตั้งอยู่ ๑ หลัง จากจำนวนโบราณสถานและถักษณะของเจดีย์ วิหาร ทำให้เชื่อว่าเป็นวัดขนาดใหญ่ที่มีความสำคัญอีกแห่งหนึ่งของเวียงกุมกาม น่าจะมีส่วนประกอบของสถาปัตยกรรมและอาคารอย่างอื่นอีกในบริเวณ แต่อาจถูกทำลายไปแล้วหรือยังฝังอยู่ใต้ดิน อย่างไรก็ตาม วัดนี้นีการก่อสร้างพี่มเติม สามารถกำหนดอายุได้ว่าอยู่ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๒


Wikimapia location

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.