Wat Umong (Suan Phutthatham), Tambon Suthep, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province, Thailand
Also designated as Wat Umong Suan Phutthatham and Wat Umong (Suan Buddha Dhamma)--fully translates to Wat Umong (Buddha Dhamma Garden or Park)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) ตำบลสุเทพ เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
                    
<^>>>^>
 

Wat Umong (Suan Phutthatham) Phra Chedi (DTHCM2451)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) พระเจดีย์

Wat Umong (Suan Phutthatham) Phra Chedi (DTHCM2452)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) พระเจดีย์

Wat Umong (Suan Phutthatham) Phra Chedi Platform (DTHCM2453)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) เวที พระเจดีย์

Wat Umong (Suan Phutthatham) Bell Tower (DTHCM2454)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) หอระฆัง

Wat Umong (Suan Phutthatham) Phra Ubosot (DTHCM2455)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) พระอุโบสถ
 

Wat Umong (Suan Phutthatham) Phra Ubosot (DTHCM2456)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) พระอุโบสถ

Wat Umong (Suan Phutthatham) Dhammakosama Library (DTHCM2457)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) หอธรรมโฆษณ์
Jian Zhe Li
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม)

Wat Umong (Suan Phutthatham) Temple Name Plaque (DTHCM2458)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) ป้ายชื่อวัด

Wat Umong (Suan Phutthatham) Hen Foraging with Her Chicks (DTHCM2459)
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) ไก่ตัวเมียหาอาหารกับหล่อนลูกไก่
 
Click thumbnails below to order prints:
Jian Zhe Li
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม)
      Jian Zhe Li
วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม)
 
Wat Umong (Suan Phutthatham), วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม), is located in Tambon Suthep, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province, Thailand. The temple is also designated as Wat Umong Suan Phutthatham and Wat Umong (Suan Buddha Dhamma)--fully translates to Wat Umong (Buddha Dhamma Garden or Park) and is considered to be a Forest Temple.

วัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม) อยู่ตำบลสุเทพเมืองเชียงใหม่จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไท

The History of Wat Umong (Suan Phutthatham)     This temple was originally called Wat Werukatthanaram, which means"Temple of the Eleven Clumps of Bamboo". The old document records that after the founding of Chiang Mai around 1297 A.D. (B.E. 1840), Phaya Mangrai built this temple in an area that had eleven clumps of bamboo for Phra Thera Chan and Singhol (Lanka) monks to reside therein. Later on, a tunnel ("U-Mong" in Thai) was constructed by the command of Phaya Kuena. Since then, the temple was named Wat U-Mong Thera Chan or simply Wat U-Mong.
    In the past, this temple was regarded as an Aranyawasi (forest) temple, for it was located in the western jungle zone of Wiang Suan Dok, or in the area outside Chiang Mai City. This temple has a round bell-style Chedi situated on a short circular base (this style Chedi resembles Sapata Chedi in Pakan from the 12th cnetury A.D.) On the wall of the cellar beneath the base of the Chedi are decorations of mural paintings of the Ex-Buddha images sitting in rows of niches.
    This principal Chedi of the temple is situated on an open court of the mound and in the seige of a boundary wall. The Chedi has a Naga staircase built on the south side. On the east side of the Chedi is an open wide roof of the tunnel. Situated on the lower mound, the tunnel doorway is facing towards the south. The tunnel which houses Buddha images has a wall decorated with mural paintings of trees, flowers and birds. The wide court in the front of the tunnel which contains pavilions, monk's residences, a stone pillar with a lion sculpture on its top and an old base for a Vihaia surrounded by a boundary wall with its main gate lying on the south side. In addition, on the west, another gate is open to the Naga Staircase of the Chedi.
    Identified from historic documents, architectural style and mural paintings, this temple is assumed to have been built in the 15th - 16th centuries A.D. Later in 1947, Chao Chuen Sirorot built a Dhamma garden in the temple and invited Phra Dhamma Kosajarn (Panya Nantha Pikkhu) to come to serve as abbot of the temple. U-Mong temple is one of the significant monasteries of Chiang Mai.
ประวัดอุโมงค์ (สวนพุทธธรรม)     วัดอุโมงค์เดิมชื่อ วัดเวฬุกัฎฐาราม แปลว่า วัดป่าไผ่ ๑๑ กอ ตามตำนานกล่าวว่า เมื่อครั้งพญามังราย สร้างเมืองเชียงใหม่แล้ว ประมาณปี พ.ศ. ๑๘๔๐ ได้สร้างวัดขึ้นบริเวณป่าไผ่ ๑๑ กอ เพื่อถวายเป็นที่พำนักแด่ พระภิกษุนามเถรจันทร์ และ พระภิกษุชาวสิงหล (ลังกา) ต่อมาในสมัยพญากือนา ไปรดให้สร้างอุโมงค์ขึ้นในบริเวณวัด ภายหลังจึงเรียกกันว่าวัดอุโมงค์ถรจันทร์ หรือวัดอุโมงค์
    ในอดีตอว่าเป็นวัดป่าหรือวัดอรัญวาสี ตั้งอยู่ทางด้านทิศตะวันตกของเวียสวนดอก นอกเวียงเชียงใหม่ภายในวัดมีเจดีย์ทรงระฆังกลม ตั้งอยู่บนฐานกลมเตี้ย (รูปแบบคล้ายกับเจดี์สัปต เมืองพุกามซึ่งสร้างขึนในช่วงกลางพุทธศตวรรษที่ ๑๓) ภายในหองกรุใต้องค์เจดีย์มีภาพเขียนรูปอดีตพระพุทธเจ้า ประทับนัอยู่ในซุมเรือนแก้วเรียงกันเป็นแถว องค์เจดีย์นี้ตั้งอยู่บนเนินลานโล่ง ล้อมรอบด้วยกำแพง มีบันไดนาคทางขึ่น-ลง อยู่ทางด้านทิศใต้ ด้านทิศตะวันออกเป็นลานหินหลังคาคูหา ของอุมงค์ที่มีช่องประตูทางเข้าอยู่ด้านล่งทางทิศใต้ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูป และตกแต่งผนังคูหาด้วยภาพจิตรกรรมรูปด้นไม้ ดอกไม้ และนก ด้านหน้าอุโมงค์เป็นลานกว้าง ล้อมรอบด้วยกำแพงมีประตูทางเข้-ออก อยู่ทางด้านทิศใต้ แลทิศตะวันตก เชื่อมต่อกับบันไดนาคทางขึ้นเจดีย์ ปัจจุบันด้านหนานี้เป็นที่ตั้งศาลา หมู่กุฏิสงฆ์ เสาหินซี่งหัวเสาเทำเป็นรูปปั้นสืงห์โต และฐานวิหารเดดิม จากเอกสารทางด้านประวัติศาสตร์ สถาปัตยกรรมและภาพจิตรกรรมฝาผนัง สันนิษฐานว่า วัดนี้สร้างขึ้นในช่วงพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๑ ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๓๐ เจ้าชื่นสิโรรส ได้สร้างสวนพุทธธรรมขึ้นในว้ด และนิมนต์ท่านปัญญานันทะภิกขุ (พระธรรทโกศาจารย์) มาเป็นเจ้าอาวาส วัดอุโมงค์นับด้ว่าเป็นวัดสำคัญ อีกวัดหนึ่งของเมืองเชียงใหม่
Above English and Thai text from an historical plaque at the temple.

Wikimapia location

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.