Wat Wayrurachin, Bang Yi Ruea, Thon Buri, Bangkok, Thailand
Also spelled Wat Werurachin
วัดเวฬุราชิณ บางยี่ภูเรือ ธนบุรี กรุงเทพฯ ประเทศไทย
                    
<^>>^>
 

Wat Wayrurachin Ubosot (DTHB0918)
วัดเวฬุราชิณ พระอุโบสถ

Wat Wayrurachin Ubosot Gable (DTHB0919)
วัดเวฬุราชิณ หน้าจั่ว พระอุโบสถ

Wat Wayrurachin Ubosot Sema or Boundary Stone (DTHB0920)
วัดเวฬุราชิณ เสมา พระอุโบสถ

Wat Wayrurachin Wihan (DTHB0921)
วัดเวฬุราชิณ พระวิหาร

Wat Wayrurachin Meeting Hall Gable (DTHB0922)
วัดเวฬุราชิณ หน้าจั่ว ศาลา
 
Jian Zhe Li
วัดเวฬุราชิณ

Wat Wayrurachin Rescue Association Gable (DTHB0923)
วัดเวฬุราชิณ หน้าจั่ว สมาคมกู้ภัย

Wat Wayrurachin King Taksin Memorial (Phra Chao Taksin) (DTHB0924)
วัดเวฬุราชิณ อนุสรณ์สถานพระเจ้าตากสิน

Wat Wayrurachin Temple Gate (DTHB0925)
วัดเวฬุราชิณ ประตูวัด
Jian Zhe Li
วัดเวฬุราชิณ
 
Wat Wayrurachin, วัดเวฬุราชิณ, (also spelled Wat Werurachin), was built in the Rattanakosin period during the reign of King Rama III (1824- 1851 B.E. 2367-2394) by Chao Phraya Phollathep. The temple construction was completed during the reigh of King Rama IV (1851- 1868 B.E. 2394-2411) and renamed Wat Mai Thongkhung, due to its location at the bend of a water course. Once granted royal temple status, it was named Wat Mai Werurachin. The construction cost, it is said, came from taxes levied on bamboo forests to which Chao Phraya Phollathep had been granted the sole authority for collecting.
During the reign of King Rama V (1868- 1910 B.E. 2411-2453), two high ranking officials jointly restored the temple and modified some of its structures. The Ordination Hall (Ubosot) is Chinese in appearance, with lion statues at the stairways. Inside the hall are wall paintings. The Principal Buddha image is seated in Subduing Mara (Satan) posture, with two close discipcles, namely Saributra on his right, and Mokhalana on his left. A reclining Buddha image is kept in the Wihan hall.

วัดเวฬุราชิณ เป็นพระอารามหลวงชั้นตรี ชนิดสามัญ สร้างในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เจ้าพระยาพลเทพ (เอี่ยม ต้นตระกูลชูโต) เป็นผู้สร้างในปลายสมัยรัชกาลที่ ๓ (พ.ศ. ๒๓๖๗-๒๓๙๔) เสร็จในสมัยรัชกาลที่ ๔ (พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๑๑) เดิมเรียกว่า วัดใหม่ท้องคุ้ง เพราะตั้งอยู่ในคุ้งน้ำ เมื่อได้ถวายเป็นพระอารามหลวงแล้ว ได้รับพระราชทานนามใหม่ว่า วัดใหม่เวฬุราชิญ การสร้างวัดสร้างด้วยเงินค่าภาษีไม้ไผ่สีสุก ที่ เจ้าพระยาพลเทพ เป็นเจ้าภาษีผูกขาดรับไปจากรัฐบาล
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ (พ.ศ. ๒๔๑๑-๒๔๕๓) พระยาพิศาลศุภผล และ ขุนตาลวโนชากร ร่วมมือกันปฏิสังขรณ์ใหม่ทั้งหมด พระอุโบสถเป็นสถเป็นสถาปัตยกรรมแบบจีนกลาย มีสิงโตที่บันได ด้านในมีจิตรกรรมฝาผนัง พระประธานเป็นพระพุทธรูปปางสะดุ้งมาร มีพระสารีบุตรอยู่เบื้องขวา พระโมคคัลลานะอยู่เบื้องช้าย ในพระวิหารมี พระสีหไสยาสน์ ประดิษฐานอยู่

Information from a historical marker at the temple.

Wikimapia location

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.