Wat Bophit Phimuk Worawihan, Chakkrawat, Samphanthawong, Bangkok, Thailand
วัดบพิตรภิมุขวริหาร จักรวรรดิสัมพันธวงศ์กรุงเทพฯ ประเทศไทย
                    
<^>>^>
 

Wat Bophit Phimuk Worawihan Ubosot (DTHB1012)
วัดบพิตรภิมุขวริหารพระอุโบสถ

Wat Bophit Phimuk Ubosot (DTHB1013)
วัดบพิตรภิมุขวริหารพระอุโบสถ

Wat Bophit Phimuk Ubosot (DTHB1014)
วัดบพิตรภิมุขวริหารพระอุโบสถ

Wat Bophit Phimuk Ubosot Gable (DTHB1015)
วัดบพิตรภิมุขวริหารหน้าจั่วพระอุโบสถ

Wat Bophit Phimuk Ubosot Window (DTHB1016)
วัดบพิตรภิมุขวริหารหน้าต่างพระอุโบสถ
 

Wat Bophit Phimuk Wihan Dedicated to a Revered Monk (DTHB1017)
วัดบพิตรภิมุขวริหารวิหารหลวงปู่ไข่ อินุทสโร

Wat Bophit Phimuk Wihan Gable (DTHB1018)
วัดบพิตรภิมุขวริหารหน้าจั่ววิหาร
Jian Zhe Li
วัดบพิตรภิมุขวริหาร

Wat Bophit Phimuk Wihan Gable (DTHB1019)
วัดบพิตรภิมุขวริหารหน้าจั่ววิหาร

Wat Bophit Phimuk Boundary Stone and Chedi (DTHB1020)
วัดบพิตรภิมุขวริหารเสมาและเจดีย์
 
Wat Bophit Phimuk Worawihan, วัดบพิตรภิมุขวริหาร, is a second grade Royal Temple or Woriwihan. This is an ancient civil temple that has existed since the Ayutthaya period and named Wat Lain or Wat Choeng Lain, due to the temple's location by the bank of the river where the area had an abundance of lain (mud or muck). Around 1781 (B.E. 2324) during the reign of King Rama I, Krom Phra Ratchawangbowon Sathan Phimuk renovated the entire temple and the king named it Wat Bophit Phimuk. In the reign of King Rama II, an epidemic of cholera killed many people and their bodies were piled in the temple's graveyard. In King Rama III's reign, the wood structures were demolished and replaced by masonry buildings. Later, King Rama IV had the temple restored again and a teak wooden pavilion was built with the design of the King's emblem, a royal crown on a pedestal guarded by mythical animals. This still appears on the front and side of the pavilion. The monks' residences show a combination of Thai and Chinese styles.

วัดบพิตรภิมุขวริหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นโท ชนิดวริหาร เดิมเป็นวัดราษฎร์ เป็นวัดโบราณ มีมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ชื่อว่า วัดเลน หรือ วัดเชิงเลน เนื่องจากวัดตั้งอยู่ริมแม่น้ำซึ่งเป็นดินเลน ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๑ ประมาณป่ พ.ศ. ๒๓๒๔ กรมพระราชวังบวรสถานพิมุข ทรงฏิสังขรณ์และสถาปนาใหม่ทั้งพระอาราม ได้รับพระราชทานนามจากรัชกาลที่ ๑ ว่า วัดบพิตรพิมุข ในสมัยรัชกาลที่ ๒ เกิดอหิวาตกโรคระนาด ผู้คนล้มตายกันมาก ชาวบ้านได้หามศพมาองสุมไว้ที่ป่าช้าของวัดเป็นจำนวนมาก ต่อมารัชกาลที่ ๓ ได้ทรงปฏิสังขรณ์ใหม่ โดยให้รื้ออาคารไม้หลังเก่าออก และสร้างใหม่ด้วยอิฐและปูน จนมาถึงสมัยรัชกาลท ๔ ทรงปฏิสังขรณ์อีกครั้งหนึ่ง โดยโปรดเกล้าฯ ให้สร้าง พลับพลาเครื่องไม้สัก มีลายสลักพระราชลัญจกรตราอาร์ม เป็นรูป พระมหาพิชัยมงกุฎ บนพานมีราชสีห์กับคชสีห์ ด้านในวัดมี กุฏิตำหนัก แบบไทยและแบบจีน

Wikimapia location

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.