Wat Chamthewi or Wat Ku Kut, Tambon Mueang Nga, Mueang Lamphun District, Lamphun Province, Thailand Also spelled Wat Chama Thewi, Wat Jam Thewee, or Wat Chama Devi (Wat Chamdevi) วัดจามเทวี หรือ วัดกู่กุด ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ประเทศไทย |
|||||
<^>>>^> | |||||
|
|||||
|
|||||
Wat Chamthewi, วัดจามเทวี, is located in Tambon Mueang Nga, Mueang Lamphun District, Lamphun Province, Thailand. Dating back to 749 AD, Wat Chamthewi is considered to be one of the oldest temples in the Northern provinces of Thailand. On the grounds of the temple stands a beautiful Chedi known as "Suwan Chedi Junkote". Its architectural style is that of the Haripunchai period with a square structure that resembles a pyramid and is similar to the Buddhagaya style of India. Each tier of the Chedi is decorated with ancient Buddha images and enshrined are the ashes of Phra Nang Cham Thewi (Queen Cham Thewi). วัดจามเทวี เป็น ตำบลเหมืองง่า เมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ประเทศไทย วัดจามเทวี เป็นวัดเก่าแก่ที่สำคืญของถิ่นเมืองเหนือล้านนาอีกวัดหนี่ง ชาวบ้านเรียกกันว่า "วัดกู่กุด" ไม่ปรากฏชื่อพู้สร้างบางแห่บ็ว่าพระนางจามเทวีทรงสร้างขี้นเมิ้อ พ.ศ. ๑๒๙๒ พระนางจามเทวีบวชเป็นชีที่วัดนี้เมื่อพระขนมายุ ๖๐ ปี จนถีงพระชนมายุ ๙๑ ปีได้สละสังขาร ภายในวัดมีเขดีย์ที่สำคัญทางประวีติศาสตร์ และศิลปกรรมอยู่ ๒ องศ์ด้วยกัน สุวรรณเจดีย์จังโกฏิ รูปแบบทางสถาปีตยกรรม เป็นเจดีย์สั่เหลี่ยมก่อด้วยศิลาแลง องค์เจดีย์มักษณะเป็นทรงสี่เหลี่ยมช้อนลดหลั่นกันขี่นไป ๕ ชั้น แต่ละชั้นมีพระพุทธรูปปางประทานอภัยประทับยืนอยู่ตามชุ้มด้าละ ๓ องค์ ทั้ง ๔ ด้าน รวมที้งหมด ๖๐ องค์ ภายในพระเจดีย์บรรจุอัฐิของพระนางจเมเทวีปฐมกษัตริย์แห่งนครหริภุญชัย ต่อมาจะเป็นสมันใดไม่ทราบแน่ชัด ยอดพระเจดีย์ได้หักหายไป ชาวบ้านจีงเรียกว่า "กู่กุด" เจดีย์ี้เป็นแบบศิบปะหริภุญชัย ที่ได้รับอทธพลจากศิลปะทราวดีตอนปลาย เจดีย์มีรูปคล้ายกับสัตตมหาปราสาทที่เมืองโบลนนาลวะ ประเทศศรีลังกา นอจากนี้ยังมีระตนะเจดีย์ เจดีย์ทรง ๘ เหลี่ยม ตั้งอยู่ทางขวามือของวิหาร สร้่งขี้นราวสมียพุทธศตวรรษที่ ๑๗ โดยพระยาศรรพสิทธิ์ เมื่อปี พ.ศ. ๑๒๙๘ และมีกู่ครูบาเจ้าศรีวิชัยอิริยาบถยืนทั้ง ๔ ด้น ๔ ทิศ และเป็นสถานที่พระราชทานเพลิงศพครูบาเจ้าศรีวิยด้วย Wikimapia location |
|||||
Wat Chamthewi has a number of historical plaques providing descriptions of the temple and some more notable features of the temple. The text from those plaques is reproduced below. |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Chedi Kukut ((Ku Kuthi) also called Suwan Chedi Jungkote |
|||||
There is no clear evidence of when this Chedi was built. There are two theories concerning its construction: 1. It was formerly the Suwanchangkot Chedi built by Chao Mahantayot to store Queen Chamathevi's ashes. 2. It was formerly the Mahaphol Chedi built by King Athitayarat in the Mahapol field as a memorial for his victory in the battle with the Lawo Kingdom around the end of the 17th Century B.E. (12th Century A.D.) The Chedi got its name "KuKut" from its tip part being broken off, where "Ku Kuthi" refers to a Buddhist monk's residence which may refer to the Buddha images placed in the arched bays around the chedi. Chedi Khukut is estimated to be as old as the 17th Century B.E. (12th Century A.D.), it is believed that the present form was a result of renovation in the 18th Century B.E. (13th Century A.D.) by King Sawathisit as recorded in the Wat Ku Kut stone inscription (No. 2). |
|||||
เจดีย์กู่กุด (กู่กุฏิ) ด้วยชื่อ สุวรรณเจดีย์จืงโกฏิ | |||||
เจดีย์กู่กุดนี้ ไม่มีประวัติการกอสร้างที่ชัดเจน เดิมมีความเชื่อเกี่ยวกับการก่อสร้างเจดีย์องค์นี้ ๒ ประเด็น คือ
๑. เชื่อว่าเป็นเจดีย์สุวรรณจืงโกฏิที่เจ้ามหันตยศสร้างขึ้น เพื่อบรรจุอัฐิพระนางจามเทวี ๒. เชื่อว่าเป็นเจดีย์มหาพล ที่พระเจ้าอาทิตยราชสร้างขึ้นบริเวณทุ่งมหาพล เพื่อเป็นที่ระลึกครั้ง ชนะสงครามกับทัพชาวละโว้ในราวปลายพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ชื่อ"กฤู่กุด" นั้นมาจากส่วนยอดของเจดีย์ที่หักหายไป ส่วน "กู่กุฏิ" หมายถึง "กุฎาตาร" หรือ อาคาร ที่พักสงฆ์ ซึ่งอาจหมายถึงพระพุทธรูปที่ประดับอยู่ในซุ้มจระนำรอบองค์เจดีย์ เจดีย์กู่กุด เป็นเจดีย์ทรงปราสาทในผังสี่เหลี่ยมซ้อนลดหลันกัน ๕ ชั้น แต่ละชั้นมีซุ้มจระนำประดิษฐาน พระพุทธรูปปูนปั้นประทับยืนแสดงปางประทานอภัยศิลปะหริภุญไชย อายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗ จำนวนรวมทั้งสิ้น ๖๐ องค์ ซึ่งเชื่อว่าเป็นรูปแบบที่เกิดจากการปฏิสังขรณ์ของพระเจ้าสววาธิสิทธิ ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๘ ดังหลักฐานที่ปรากฏในศิลาจารึกวัดกู่กุด (ลพ ๒) |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats. All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved. |