Wat Chedi Liem or Wat Kum Kahm, Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand
Also spelled Wat Chediliem
วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำ เวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
                    
<^>>>^>
 

Wat Chedi Liem Chedi Liem (DTHCM0819)
วัดเจดีย์เหลี่ยม เจดีย์เหลี่ยม

Wat Chedi Liem Chedi Liem (DTHCM0820)
วัดเจดีย์เหลี่ยม เจดีย์เหลี่ยม

Wat Chedi Liem Chedi Liem (DTHCM0821)
วัดเจดีย์เหลี่ยม เจดีย์เหลี่ยม

Wat Chedi Liem Chedi Liem Buddha Image Niches (DTHCM0822)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ซอกพระพุทธรูปปั้นา เจดีย์เหลี่ยม

Wat Chedi Liem Chedi Liem Pinnacle (DTHCM0823)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ยอดทรงกรวย เจดีย์เหลี่ยม
 

Wat Chedi Liem Phra Wihan (DTHCM0824)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระวิหาร

Wat Chedi Liem Phra Wihan Entrance (DTHCM0825)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ทางเข้า พระวิหาร

Wat Chedi Liem Phra Wihan Interior (DTHCM0826)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ด้านใน พระวิหาร

Wat Chedi Liem Phra Wihan Buddha Image (DTHCM0827)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระพุทธรูป พระวิหาร

Wat Chedi Liem Phra Wihan Rear Entrance (DTHCM0828)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ทางเข้าหลัง พระวิหาร
 

Wat Chedi Liem Phra Wihan Naga Finial (DTHCM0829)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ยอดนาค พระวิหาร

Wat Chedi Liem Sīvali Image and Ganesha (DTHCM0830)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระสีวลีเถระรูป และ พระพิฆเนศวร

Wat Chedi Liem Phra Ubosot (DTHCM0831)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot (DTHCM0832)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot (DTHCM0833)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระอุโบสถ
 

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Gable (DTHCM0834)
วัดเจดีย์เหลี่ยม หน้าจั่ว พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Door (DTHCM0835)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ประตู พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Gate Makara (DTHCM0836)
วัดเจดีย์เหลี่ยม มกรที่ทรวาร พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Makara and Stylized Naga (DTHCM0837)
วัดเจดีย์เหลี่ยม มกรและนาคที่ดูทันสมัย พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Makara and Stylized Naga (DTHCM0838)
วัดเจดีย์เหลี่ยม มกรและนาคที่ดูทันสมัย พระอุโบสถ
 

Wat Chedi Liem Phra Ubosot (DTHCM0839)
วัดเจดีย์เหลี่ยม พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Chofah (DTHCM0840)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ช่อฟ้า พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Phra Ubosot Windows (DTHCM0841)
วัดเจดีย์เหลี่ยม หน้าต่าง พระอุโบสถ

Wat Chedi Liem Great Hall of King Mangrai (DTHCM0842)
วัดเจดีย์เหลี่ยม หอพญาเม็งรายมหาราช

Wat Chedi Liem Great Hall of King Mangrai Gable (DTHCM0843)
วัดเจดีย์เหลี่ยม หน้าจั่ว หอพญาเม็งรายมหาราช
 
 
Wat Chedi Liem Great Hall of King Mangrai (DTHCM0844)
วัดเจดีย์เหลี่ยม หอพญาเม็งรายมหาราช
Jian Zhe Li
วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำ

Wat Chedi Liem Temple Name Plaque (DTHCM0845)
วัดเจดีย์เหลี่ยม ป้ายชื่อวัด
 
 
Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online
 
Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Jian Zhe Li
วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำ
Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online Click or Tap to Order Prints of this Photograph Online
 
Wat Chedi Liem, วัดเจดีย์เหลี่ยม, or Wat Kum Kahm, วัดกู่คำ, is located in Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand. Chedi Liem has been recently refurbished and white-washed.  Other images on the internet show the Chedi prior to restoration.
วัดเจดีย์เหลี่ยม หรือ วัดกู่คำ ตั้งอยู่ใน เวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย

From an historical marker at the site:

     Various historical document and other chronicles record that King Mangrai commanded his people to dig earth from a pond for the construction of Ku Come Chedi (Chedi Kum Kahm) as a place for enshrining Buddha relics for worship (in the northern dialect "Ku Come" means a golden chedi).  In contrast, the Hariphunchai poem mentions that the King had the Chedi built to contain ashes of his wife who passed away in Wiang Kum Kam.  This Chedi was formerly called Ku Come Chedi, but is known at present as Chedi Liem after its architectural style (Liem in this context means a square shaped Chedi bearing an acute tapering finial).  Later, in 1912, Luang Yonnakanvijit (Mong Panyo Upayokin or Phraya Taka) who was a Mon merchant of Burmese nationality asked Burmese artists and technicians to restore the Chedi and add more decorations.  The Burmese influence is seen in the floral and spiral designs above the niches and the limed Buddha images.  However the original architectural style of the Chedi has been preserved.
     Other Chedis of the same type are to be found at Wat Phayawat in Nan, Ku Kud Chedi of Wat Chamathevee and Suwana Chedi of Wat Phrathat Hariphunchai in Lamphun.  Surrounded by a boundary wall and situated on a laterlite base, Chedi Liem was built of brick and coated with lime.  It has two small entrances, one on the eastern and another on the southern boundary wall, used for entering into the area around the Chedi so that people can walk around the base in a clockwise direction when making merit.  At present, the Chedi is 30.70 meters high on a square base of 17.45 meters on each side.  The Chedi has 5 tiers of the relic chamber and contains 60 niches for the Buddha images.  The tapering finial of the Chedi is decorated with a tiered umbrella of state.  Moreover, the Chedi has a minature Chedi with umbrella of state situated on each corner of each tiered chamber (20 Chedis in total). However, each side of the unadorned square base (the lower part of the structure), contains a niche for a Buddha image in the center and a limed lion on each corner.
     It is thought that this Chedi might have been built in the 13th century A.D. Evidence found here indicate that it was restored in the 16th century A.D. in addition to the final enormous restoreation in 1912.

     ตำนานพื้นเมืองเชียงใหม่ พงศาวดารโยนก และตำนานนูลศาสนา กล่วว่า พญามังรยให้ขุดดินจากหนองต่างมาก่อเป็นเจดีย์กู่คำ บรรจุพระธาดุให้เป็นที่บูชาแก่คนทั้งหลาย (ในกาษาเหนือ กู่คำหมายถึง เจดีย์ทอง) แต่โคลงนิราศหริภุญไชย ให้ความว่า พญามังรายสร้างกู่คำเพื่อบรรจุอัฐิพระมเหสี ของพระองค์ ซึ่งสวรรคตที่เวียงกุมกาม เดิมเรียกเจดีย์องค์นี้ว่า เจดิย์กู่คำ แต่ในปัจจุยันนิยมเรียกว่า เจดีย์เหลี่ยม ตามลักษณะทางด้านสถาปัตยรรม รูปทรงสี่เหลี่ยม ยอดแหลม ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๔๕๕ หลวงโยนการวิจิตร (หม่องปันโหย่ อุปโยคิน หรือ พระยาตะก่า) คหบดิชาวมอญ สัญชาติพม่าไจ้ให้ช่างชาวพม่ามาบูรณะซ่อมแซมและแต่งเติมลวดลายพันธุ์พฤกษาเหรือซุ้มพระแลัพระพุทธรูปปูนปั้น จนเป็นศิลปะพม่าอย่างที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน แต่ก็บังคงโครงสร้างนูปทรงสี่เหลี่ยมไว้ดังเดิม
     เจดีย์เหลี่ยมมีลักษณทางสถเปัตยกรรม เหมือนกับเจดีย์เหลี่ยม วัดพญาวัด จังหวัดน่าน เจดีย์กู่กุด วัดจามเทวี และ สุวรรณเจดีย์ วัดพระธาตุหริภุญไชย องค์เจดีย์ก่อด้วยอิฐฉาบปูนขาวบนฐานศิลาแลง ล้อมรอบด้วยกำแพงแก้ว มีประตูอยู่ทางทีศตะวันออกและทิศใต้ เข้าสู่ลานประทักษิณ ปัจจุบันเจดีย์สูง ๓๐.๗๐ เมตร ดั้งอยู่บนฐานสี่เหลี่ยมจัตุรัสขนาด ๑๗.๔๕ เมตร ซ้อนเรือนธาตุขึ้นไป ๕ ชั้น แต่ละชั้นประด้บซุ้มจระนำด้าละ ๓ ซุ้ม แต่ละซุ้มประดิษฐานพระพุทธรูป รวมทั้งสิ้น ๖๐ องค์ ชั้นยนสุดเป็นปลียอดประดับฉ้ตร มีเจดีย์จำลองยอดฉ้ตรดั้งอยู่ที่มุมทั้งสี่ของเรือนธาตุในแต่ละชั้นรวมแล้ว ๒๐ องค์ นอกจากนี้ที่ฐานเขียงประดับซุ้มพระประจำทิศทั้ว ๔ ด้าน โดยมีสิงห์ปนปั้นประจำมุม อยู่ทั้ง ๔ มุม
     เจดีย์เหลี่ยมนี้เชื่อว่าสร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่ ๑๘ พบหลักฐานว่าบูรณะเมือพุทธศตวรรษทั่ ๒๑ และบูรณะปฎิสังขรณ์ครั้งใหญ่เมื่อปี พ.ศ. ๒๔๕๕

Wikimapia location
Wikipedia article

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.