Wat Jed Yod or Wat Botharam Maha Vihara, Tambon Chang Phueak, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province, Thailand (Also spelled Wat Jedyod, Wat Ched Yod or Wat Chedi Yod) วัดเจ็ดยอด หรือ วัดดพธารามมหาวิหาร ตำบลช้างเผือก เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย |
|||||
<^>>>^> | |||||
|
|||||
|
|||||
|
|||||
Wat Jed Yodor Wat Botharam Maha Vihara, วัดเจ็ดยอด หรือ วัดดพธารามมหาวิหาร, is located in Tambon Chang Phueak, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province, Thailand. วัดเจ็ดยอด หรือ วัดดพธารามมหาวิหาร อยู่ตำบลช้างเผือกเมืองเชียงใหม่จังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย Wat Jed Yod or Wat Botharam Maha Vihara, is located outside Chiang Mai City on the northwest on the bank of the Mae Khan River. It is considered an important historic site in Thailand. The temple was built by Phya (King) Tilokaraja, the 9th king of Lanna, A.D. 1442-1487 (B.E. 1985-2030), as the residence of Phra Uthamapanya Mahathera, a revered monk who was the abbot of the temple during the Buddhist Lent in A.D. 1485 (B.E. 1998). A Bothi tree was also planted to remind one of the time when the Buddha was confronted by the Mara (a devil who tried to prevent him from attaining enlightenment). Seven other significant places were also set up to imitate the places which the Buddha visited and enjoyed great peace for seven days each before going out to spread his teaching. The places are the Bothi Tree Seat or Throne, Phra Chedi with Image of Buddha, Ratana Jongkrom, Ratana Ghara Chedi, Rajayatana Chedi, Achapalantikroth and Mondopa of Mujjalinta pond. The Bothi Throne (present day Chedi Jedyod) was modeled after the architectural style of the Chedi at Maha Bothi Vihara in India, whose outside wall was decorated with the stucco relief of an assembly of angels or deities. The first revision of the Tripitaka text was held here for the first time in Thailand, the eighth time in the world, in A.D. 1477 (B.E. 2020), which took one year to complete. The revision was chaired by Phra Tharathin Mahathera of Wat Patan, who represented the monks and by Phya Tilokaraja, who represented the lay people. The temple was granted the name of "Botharam Maha Vihara" because it had the Bothi tree and the great Vihara on its premises. However, since the Vihara had seven Chedis on the top, the people often referred to it as "Wat Jedyod" or temple with seven spires (or Chedis). After Phya Tilokaraja's death in A.D. 1487 (B.E. 2030), Phya Yod Changrai, his nephew, commanded his subjects to build a crematorium and a big Chedi to hold his ashes and relics. In the time of Phya Muang Kaee, A.D. 1495-1525 (B.E. 2038-2068), these places were restored and an Ubosoth and other structures were added and were surrounded by walls, having the main gate (Sum Prathukhong) on the east. Wat Jedyod was deserted for a while until the early Rattanakosin period when King Kawila of Chiang Mai, A.D. 1796 (B.E. 2339) came to revive the city and to restore several buildings in Chiang Mai, including Wat Jedyod. Since then Wat Jedyod has become significant as a place that contains several masterpieces of artistic as well as historical value. The Fine Arts Department conducted the restoration and conservation of the temple in A.D. 1965 (B.E. 2508) and A.D. 1974-1984 (B.E. 2517-2527) and A.D. 2002-2004 (B.E. 2545-2547) respectively. วัดเจ็ดยอด หรือ วัดดพธารามมหาวิหาร ตั้งอยู่นอกเมืองเชียงใหม่ ทางดำนทิศตะวันตกเฉียงเหนือริมน้ำแม่ขาน นับเป็นปูชนนิยสถานที่สำคัญมากแห่งหนึ่งของประเทศไทย พญาติโลกราช กษัตริย์ลำดับที่ ๙ (พ.ศ. ๑๙๘๕-๒๐๓๐) ของแคว้นลัานนา มรงโปรดให้สร้งขึ้นเพื่อเป็นที่จำพรรษา ของพระอุตตมปัญญามหาเถระ เจ้าอาวาสเมื่อปี พ.ศ. ๑๙๙๘ พร้อมบปลูกต้นศรีมหาโพธิให้เหมือน เมื่อครั้งพระพุทธเจ้าทรงผจญมาร อีกทั้งจำลองสัตตมหาสถาน คือสถานที่สำคัญ ๗ แห่ง ที่พระพุทธเจ้าทรงประทับเสวยวิมุติสุข แห่งละ ๗ งัน ก่อนการเผยแผ่ศาสนา ได้แก่ โพธิบัลลังก์ (เจดีย์เจ็ดยอดในปัจจุบัน ซึ่งถ่ายแบบศิลปกรรมจากเจดีย์มหาโพธิวัหารพุทธคยาในประเทศอินเดีย ผนัวิหารด้านนอกประดับปูนปั้นเทพขุมนุม) พระเจดีย์ที่ประดิษฐานพระพุทธรูป รัตนจงกรม รัตนมวเจดีย์ ราชายตนเจดีย์อชปาลนิโครธ และมณฑปสระมจจลินท์ แล้วทำการสังคายนาพระไตรปิฏกขึ้นเป็นครังแรกในประเทศไทย และเป็นครั้งที่ ๘ ของโลก เมื่อพ.ศ. ๒๐๒๐ ใช้เวลาประชุมลังคายนานาห ๑ ปี โดยมีพระธรรมทินมหาเถระ สำนักวัดป่าตาลเป็นบ่ระธานปยสงฑ์ และพญาติโลกราชเป็นนประธานฝ่ายฆวาวาสพระราชทานนามว่า "โพธารามมหาวิหร" เพระามืต้นศรีมหาโพธิและวิหารใหญ่ แต่เนื่องจากวิหารมียอดเป็นเจดีน์ ๗ องค์ คนทัวไปจึงนิยมเรียกชอว่า "วัดเจ็ดยอด" เมื่พญาติโลกราชสวรรคต ในปี พ.ศ. ๒๐๓๐ พญาดเชียงราย ราชนัดดาของพระองคทรงโปรดให้สร้างจิตกาธาน (เชิงตะกอน) เพื่อเป็นทิถวาอพระเพลิงพระศพ พร้อมกันนั้นได้ทรง สร้างเจดีย์องค์ใหญ่บรรจุอัฐิและอังคารธตุไว้ด้วย ต่อมาในสมัยพญาเมืองแก้ว (พ.ศ. ๑๐๓๘-๒๐๖๘) ทรงบูรณะ ปฏิสังขรณ์ และทรงโปรดให้สร้างอุโบสถ ศาสนสถานต่าง ๆ เหล่านี้ลอมงอบด้วยกำแพง ที่มีซุ้มประตูโขงหรือประทางเข้าหลักของวัดอยู่ทางด้านทิศคะวนออก วัดเจ็ดยอดได้ร้างไประยะหขึ่งเละปฏสงขรณอารามต่าง ๆ ทั่วเมืองจเชียงใหม่ รวมทังวัดเจ็ดยอดแห่งนี้ด้วย วัดเจ็ดยอดจึงดำรง ความสำคัญในฐานะเป็นแหล่งรวมศิลปกรรมชั้นเยี่ยมที่มีประวัติศาสตร์ความเป็นมาคู่เมืองเชียงใหม่ สืบมาจนถึงปัจจุบัน กรมศลปากรดำเนินการบูรณะและอนวักษ์ ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. ๑๕๐๘ ครั้งที่สอง พ.ศ.๒๕๑๗-๒๕๒๗ และครั้งที่สาม พ.ศ. ๒๕๔๕-๒๕๔๗ English and Thai text from historical marker at the temple. Wikimapia location |
|||||
Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats. All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved. |