Wat Phra That Doi Kham or Wat Suwannabanpot, Tambon Mae Hia, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province, Thailand
Also spelled Wat Pratat Doi Kam
Also known as Temple of the Golden Mountain
วัดพระธาตุดอยคำ หรือ วัดสุวรรณบรรพต ตำบลแม่เหียะ อำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
Wat Phra That Doi Kham or Wat Suwannabanpot, วัดพระธาตุดอยคำ หรือ วัดสุวรรณบรรพต, is located in Tambon Mae Hia, Mueang Chiang Mai District, Chiang Mai Province, Thailand. Google Maps shows the location of the temple to be Tambon Suthep (ตำบลสุเทพ), but the temple plaque says Tambon Mae Hia.
The History of Doi Kham Temple
Doi Kham Temple was built in the period of Queen Jammathewee of Lamphun by both of her sons in B.E. 1230 (A.D. 687). It contains relics of Lord Buddha, temple hall (Phra Wihan) Mense and a stucco Buddha. its old name was Suwannabanpot Temple, but the local villagers like to call it "Doi Kham" temple. According to its history, it was a deserted temple with its broken treasure-house such as Pra Rod Luang which is made of ancient sandstone its gold and ig size and Pra Sam HOm (soil Buddha Image). There once was an Emerald Buddha image belonging to Queen Jammathewee, that was about 5 inches high; it is believed to have been taken to a house and it is impossible to bring it back for worship.
The temple has been renovated since B.E. 2524 {A.D. 1981) with renovation of the pagoda (chedi) and the main Buddha Image "Lord Buddha Napee Seeping". In B.E. 2538 (A.D. 1995) the statue of Queen Jammaathewee was built in back of the temple yard and there was a religious commerative ceremony on 19th Febfuary B.E. 2538 (A.D. 1995).
The pagoda (chedi) is built in Northern style and the pinnacle was done as part of the temple's work of art. ประวัดพระธาตุดอยคำ
วัดพระธาตุดอยคำสร้างในสมัยพระนางจามเทวีกษัตริย์ แห่งลำพูนโดยพระโอรสทั้ง 2 เป็นผู้สร้างในปี พ.ศ.1230 ประกกอบด้วยเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุของพระพุทธเจ้า ศาลาการเปรียญกุฎิสงฆ์และพระพุทธรูปปูนปั้น เดิมชี่อวัดสุวรรณบรรพต แต่ชาวบ้านเรียกวัด "ดอยคำ"
ตามประวัติเมื่อ พ.ศ. 2509 ขณะนั้นวัดดอยคำยังคงเป็นวัดร้าง กรุแตกพบโบราณวัดถุหลายชิ้น อาทิเช่น พระรอดหลวงเป็นพระหินทรายโบราณปิดทอง องค์ใหญ่ พระสามหอม (พระเปึ้อดิน) และพระคง (พระเนึ้อดิน) ส่วนพระแก้วมรกตประจำองค์ของพระนางเจ้าจามเทวี หน้าตัก 5 นิ้วเล่ากันว่ามีชาวบ้านมาพบตอนกรุแตกและได้นำไปบูชาส่วนตัวไม่สามารถนำกลับมาให้เป็นที่สักการะ
การบูรณะวัดและบริเวณวัดใกล้เคียงตั้งแต่ พ.ศ. 2524 เป็นต้นมาได้มีการบูรณะวิหารศาลา วัดหุ้มทรงพระเจดีย์ บูรณะพระพุทธรูปองค์ใหญ่ "พระพุทธนพีสีพิงค์" และล่าสุดในปี พ.ศ. 2538 ได้มีพิธีเททองหล่อ พระอนุสาวรีย์พระแม่เจ้าจามเทวี ณ ลานหลังวัดพระธาตุดอยคำ และมีพิธีพุทธากิเษก เมื่อวันที่ 19 กุมภาพันธ์ 2538
ลักษณะศิลปกรรม องค์เจดีย์เป็นสถาปัตยกรรมแบบล้านนา รูปแบบเจดีย์ทรงกลม ดัดแปลงมาลัยเถาเป็นเหลี่ยมศิลปกรรมในวัด
Above English and Thai text from an historical plaque at the temple.