Wat Phra That Hariphunchai Ratchaworawihan, Tambon Nai Mueang, Mueang Lamphun District, Lamphun Province, Thailand Also called Wat Phra That Hariphunchai and spelled Wat Phrathat Hariphunchai วัดพระธาตุหริภุญชัย วราขวรวิหาร ตำบลในเมือง อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ประเทศไทย |
|||||
<^>>>^> | |||||
|
|||||
|
|||||
|
|||||
|
|||||
|
|||||
Wat Phra That Hariphunchai Ratchaworawihan, วัดพระธาตุหริภุญชัยราขวรวิหาร, is located in Tambon Nai Mueang, Mueang Lamphun District, Lamphun Province, Thailand. วัดพระธาตุหริภุญชัยราขวรวิหาร เป็น ตำบลในเมือง เมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ประเทศไทย Wikimapia location |
|||||
Wat Phra That Hariphunchai has a number of historical plaques providing descriptions of the more notable features of the temple. The text from those plaques is reproduced below. |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Phrathat Hariphunchai Chedi |
|||||
A legend has it that this Chedi was built in the 17th Century B.E. by King Athitayarat to house the Buddha's relics that magically appeared in the royal palace precinct. The Chedi was originally built in a tiered shape. King Sawawathisit of Hariphunchai Kingdom covered the original chedi with a larger chedi in the same style. It remained so until the 19th Century B.E. (14th Century AD). when Phraya Mangrai conqered the kingdom and commanded a bell-shaped chedi to be guilt over it. Many succeeding Lanna kings had the chedi renovated. The form seen today is the result of the grand renovation during King Tilokaras's reign around the end of the 20th Century B.E. (15th Century AD). It was a combination of the Burmese-Phukam style and the Lankan bell-shaped architecture which formed a unique Lanna style renowned for its elegance that became the model for many othe principal chedis. |
|||||
พระธาตุหริภุญชัย | |||||
ตำนาระบุว่สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๑๗ โดยพระเจ้าอาทิตยราชเพื่อประดิษฐานพระบรมสารีริกธาตุ ที่อุบัติขึ้นในเขตพระราชว้งแรกสร้างเป็นเจดีย์ทรงปราสาทต่อมาในสมัยพระเจ้าสววาธิสิทธิแห่งอาณาจักร หริภุญไชยได้ทรงก่อพอกองค์พระธาตุให้มีขนาดใหญ่ขึ้น แต่ยังคงรูปแบบสถาปัตยกรรมเดิมไว้ ครั้งพระยามังราย ตีเมืองหริภุญไชยได้ในพุทธศตวรรษที่ ๑๙ ไค้ทรงก่อเจดีย์ทรงกลมครอบทับองค์เจดีย์เดิมไว้ ต่อมาได้รับการ ปฏิสังขรณ์โดยบูรพหษัตริย์ล้านนาสืบเนื่องมาอีกหลายพระองค์ ส่วนรูปแบบที่รากฏในปัจจุบันเป็นผล จากการปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่ในสมัย พระเจ้าติโลกราช ในปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๐ โดยผสมผสานเจดีย์ ทรงระฆังแบบพุกามและเดีย์ทรงระฆังแบบลังกาจนกลายเป็นรูปแบบเฉพาะของเจดีย์ทรงระฆังแบบล้านนา ที่ได้รับการยอมรับว่ามีรูปแบบที่สง่างามและส่งอิทธิพลให้แก่การสร้างเจดีย์ประานในวัดต่างๆ จำนวนมาก
พระธาตุหริภุญชัย เป็นปฐมเจดีย์ที่สร้างขึ้นเพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุในอเาณาจักรหริภุญไชย และด้รับการเคารพสักการะจากพุทธศาสนิกชนและบุรพกษัตริย์ สืบมาจนถึงปัจจุบันเป็นเวลาร่วม ๙๐๐ ปีถือเป็น ๑ ใน ๘ จอมเจดีย์ของไทย และยังเป็น ๑ ใน สัตตมหาสถานที่พระมหากษัตริย์เมื่อแรกเสวยราชย์ จะต้องแต้งเครื่องสักการบูชาถวายตมโบราณราชประเพณี |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Suwanna Chedi (Pathumwadi Chedi) |
|||||
A legend tells that King Athitayarat and his royal consort, Queen Patumwadi had built Wat Phra That Hariphunchai around 1607 B.E. (1064 AD). More detail was found in the Mullasasana script that they both demanded the tip of the principal chedi be decorated with gold and named it Suwanna Chedi ( Golden Chedi). This golden chedi was made of bricks with a triple-tier laterite base. On the base stands the body with 5 stepped arched bays holding stuccowork of Hariphunchai style Buddha images in the standing position dated around the 17th-18th Centuries B.E. (12th-13th Centuries AD), the peak of Haripunchai's golden age of trade, religion and arts. |
|||||
สุวรรณเจีดย์ (เจีดย์ปทุมวดี) | |||||
ตำนานกลาวว่า สร้างโดยพระนางปทุมวดีอัครมเหสีของพระเจ้าอาทิตยราช พร้อมกับพระเจ้าอาทิตยราชทรงสร้างพระธาตุหริภุญชัยในราว พ.ศ. ๑๖๐๗ ส่วนตำนาน มูลศาสนาระบุเพิ่มเติมว่าในครั้งนั้นทรงโปรดฯ ให้ประดับทองตำบริเวณส่วนยอดของเจดีย์ จึงได้ชื่อว่าสุวรรณเจดีย์ สุวรรณเจดีย์ เป็นเจดีย์ก่ออิฐแต่ฐานก่อด้วยศิลาแลง มีแผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมซ้อนเหลื่อมกัน ๓ ชั้น รองรับเรือนธาตุท่มีซุ้มจระนำซ้อนลดหลั่นกัน ๕ ชั้น ภายในซซุ้มจระนำประดิษฐานพระพุทธรุป ปฟุนปั้นประทับยืนแสดงปางประทานอภัย ศิลปะหริภุญไชยอายุราวพุทธศตวรรษที่ ๑๗-๑๘ ซึ่งเป็นช่วงเวลาที่ เมืองหริภุญไชยมืความเจริญอย่างสูงสุดทั้งด้านรารค้า ศาสนาและศลปะวิทยาการ
|
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Kaho Phra Sumen |
|||||
There is no historical evidence of when Kaho Phra Sumen was constructed, but old photos show that Kaho Phra Sumen has been situated in front of Wat Phrathat Hariphunchai from the old days. Kaho Phra Sumen was built according to the belief of the universe and the center of the earth, which originated in India during the Vedic period. Later, it became popular among Buddhists in Southeast Asia. It is believed that it was introduced to the Lanna Kingdom during the 20th-21st Buddhist Century (18th Century AD) along with the arrival of Sri Lanka Buddhism. |
|||||
เขาพระสุเมรุ | |||||
ไม่ปรากฏประวัติการก่อสร้างชัดเจน แต่พบหลักฐานจากภาพถ่ายเก่าว่า ตั้งอยู่หน้าหอพระไตรปิฎก ของวัดพระธาตุหริภุญชัยฯ มาแต่โบราณ รูปแบบสถาปัตยกรรมประกอบด้วยฐานเขียงกลมซ้อนกัน ๓ ชั้น รองรับท้องไม้ประดบด้วยลูกแก้วอกไก่และกรอบช่องกระจก เหนือขึ้นไปเป็นบัวหงายขึ้นรับเขาพระสุเมรุ ซึ่งประกอบด้วยสัตตยริภัณฑ์คีรี และมหานทีสีทันดร จำลองด้วยแผ่นทองสำริดดุนนูนศิลปะ หริภุญไชยเป็นลวดลายต้นไม้ เทพยดา สัตว์ป่า และเหล่าอสูรซ้อนเหลื่อมกัน ๗ ชั้น ชั้นบนสุด ประดับด้วยไพชยนต์มหาปราสาทซึ่งปรียบเสมือนที่ประทับของพระอินทร์ เขาพระสุเมรุนนี้ สร้างขึ้นตามคติความเชื่อเรื่องแกนกลางของโลกและจักรวาล ซึ่งมีต้นกำเนิดมาจากประเทศอนเดียในยุคพระเวทย์ ต่อมาได้แพร่หลายเข้ามาในกสุ่มประเทศแถบเอเชียตะวัดนออกเฉียงใต้ ที่นับถือพุทธศาสนาและเชื่อว่าน่าจะแผ่เข้ามายังอาณาจักรล้านนา พรัอมพุทธศาสนาลังกาวงสืศ์ในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๑ |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Ho Tham |
|||||
The origin of this Buddhist Scripture Tower or Ho Tham was engraved on the Wat Phrathat Hariphunchai Wora Maha Vihara stone inscription (no. 15) recording that it was built by Phra Mueang Kaeo and his mother in 2053 B.E. (1510 AD). It was meant to store the Tripitaka Script and a golden Buddha image cast on the same occasion. |
|||||
หอธรรม (หอพระไตรปิฎก) | |||||
หอธรรมหรือหอพระไตรปิฎกนี้มี ประวัติการก่อสร้างปรากฏตามหบักฐาน ศิลาจารึกพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหร (ลพ. ๑๕) ว่าสร้งโกยพระเมืองแก้วกษัตริย์ผู้ครองเมืองชียงใหม่และพระราชมารดาใน พ.ศ. ๒๐๕๓ โดยในครั้งนั้น ได้โปรดให้สร้างพระไตรปิฎกและพระพุทธรูปทองคำมาประดิษฐานในหอธรรม ที่สร้างขึ้นด้วย ลักษณะสถาปัตยกรรม เป็นอาตาร ๒ ชั้น หันหน้าไปทางทิศตะวันตก แผนผังอาคารเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายกเก็จ ๒ ชั้น ทั้งด้านหบ้าและด้านหลัง อาตารชั้นล่างก่ออิฐถือปูน มีบันไดทางขึ้นทอดยาวขึ้นไปสู่อาคารชั้นบน ซึ่งเป็นเครื่องไม้ ตกแต่งไม้โครงสร้างด้วยการแกะสลักลายพันธุ์พฤกษาปิดทองล่องชาด ผนังอาคารตกแต่ง ด้วยลายฉลุไม้ปิดทองล่องลาดประดับกระจก หลังคามุงด้วยกระเบื้องโลหะ |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Moon-shaped Bell Tower (the Bell is Moon-shaped) |
|||||
Originally this was a construction of two brick pillars from which hung a large bronze moon-shaped bell weighing 729,000 tumlueng (1 tumlueng is equal to 60 grams). The bell was cast in B.E. 2403 (1860 AD) at Wat Phra Singh, Chaing Mai, as an offering to worship the Buddha relic in Phrathat Hariphunchai Chedi in Lumphun. Later the pillars were replaced by a two-storey hall of Hariphunchai arcitectural design. The bell was hung on the first floor and on the second floor hung another bronze bell cast in the reign of Chao Daradirekratanapairoj who ruled the city of Lamphun from B.E. 2414-2433 (1871-1890 AD). |
|||||
หอกังสดา | |||||
หอกังสดาล ตั้งอยู่ด้านทิศเหมือของวิหานลวง เดิมมีรูปทรงเป็นเสาก่ออิฐฉาบปูน ๒ ต้น แขวนกังสดาลสำริขนาดใหญ่ ซึ่งหล่อขึ่นที่วัดพระสิงห์ เมืองเชียงใหม่ โดยคณะศรัทธาของพระมหาเถรวัดป่าสูงเม่น จังหวัดแพร่ ใน พ.ศ. ๒๔๐๓ และถวายเป็นพุทธบูชแก่พระธาตุหริภุญชัย เเมืองลำพูน ต่อมาได้มีการบูรณะเปลี่ยนรูปทรงเลา ที่แขวนกังสดาลเป็นอาคารโล่งสูง ๒ ชั้น ศิลปะหริภุญไชย โดยแขานกังสดาลไว้ชั้นล่าง และแขวนระฆังสำริดที่หล่อชั้นในสมัยเจ้าดาราดิเรกรัตน์ไพโรจน์ ผู้ครองเมืองลำพูน (พ.ศ. ๒๔๑๓-๒๔๓๓) ไว้ชั้นบน |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Tha Singha (Lion) Entrance Gate |
|||||
This is the entrance gate (Sum Pratu Khong) to the monastery compound of Wat Phrathat Haripunchai Maha Viharn. Its architecture is that called "thanpat luk kaeo ok kai" (meaning lotus base decorated with crystal balls and with a ridge pole) and "sum Khong" or entrance gate style roof, whose construction details are follows: Having cement coated brick walls with pillars on both sides arching and joined together, the roof top is built in the castle style superimposed on one another. The gate is believed to have been constructed at the same time the checi was renovated in the 21th Century B.E. (16th Century AD). In the front of the gate is a stucco lion sculpture of early 2tth Century B.E. (19th Century AD) on each side. Originally, on the east of the gate was a wooden bridge across the Mae Kuang River leading to Wat Phra Yuan so the gate was named Sum Pratu Khong Thasingha. |
|||||
ซุ้มประตูโขงท่สิงห์ | |||||
ซุ้มประตูโขงท่สิงห์เป็นซุ้มประตูทางเข้าสู่เขตพุทธาวาสของวัดพระธาตุหริภุญชัยวราขวรวิหาร มีรูปแบบสถาปัตยกรรมแบบฐานปัทม์ลูกแก้วอกไก่ มีหลังคาเป็นแบบ "ซุ้มโขง" คือก่อผนังเสาทั้ง ๒ ด้านโค้งข้าหากัน ยอดหลังคาสร้างเป็นทรงปราสาทซ้อนกันหลายชั้น ซุ้มประตูนี้เชื่อว่า สร้างขี้นพร้อมการปฏิสังขรณ์ องค์พระธาตุหริภุญชัยในพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ด้านหน้าซุ้ม ประตูมีประติมากรรมสิงห์ปูนปั้นซึ่งสร้างชึ้น ในช่าวงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๔ ประดับอยู่ทั้ง ๒ ข้าง เดิมถัดจากซุ้มประตูนี้ไปทางตะวันออก มีสะพานไม้ทอดข้ามแม่น้ำกวงไปยังวัดพระยืนจึงเรียกซุ้มประตูนี้ว่าซุ้มประตูโขท่าสิงห์ |
|||||
------------------------------------------------------------------------------------ |
|||||
Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats. All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved. |