Wat Ratchapradit Sathitmahasimaram Ratchaworawihan, Phra Borom Maha Ratchawang, Phra Nakhon, Bangkok, Thailand
วัดราชประดิษฐ สถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร พระบรมมหาราชวัง พระนคร กรุงเทพฯ ประเทศไทย
                    
<^>>^>
 

Wat Ratchapradit Chedi and Wihan (DTHB0345)
วัดราชประดิษฐพระเจดีย์และพระวิหาร

Wat Ratchapradit Wihan (DTHB0346)
วัดราชประดิษฐพระวิหาร

Wat Ratchapradit Wihan (DTHB0347)
วัดราชประดิษฐหน้าจั่วพระวิหาร

Wat Ratchapradit Wihan (DTHB0348)
วัดราชประดิษฐหน้าต่างพระวิหาร

Wat Ratchapradit Pediment (DTHB0349)
วัดราชประดิษฐหน้าจั่วศาลา
 
Jian Zhe Li
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร

Wat Ratchapradit Khmer-style Prang (DTHB0350)
วัดราชประดิษฐปรางค์ชนิดเขมร

Wat Ratchapradit Khmer-style Prang (DTHB0351)
วัดราชประดิษฐปรางค์ชนิดเขมร

Wat Ratchapradit Khmer-style Prang (DTHB0352)
วัดราชประดิษฐปรางค์ชนิดเขมร
Jian Zhe Li
วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร
 
The first class Royal Monastery of Ratachaworawihan was constructed due to King Rama IV's belief that traditional royal ceremonies required three temples, namely Wat Mahathat, Wat Ratchaburana  and Wat Rajapradit.   As Bangkok had neither Wat Rajapradit nor a Thammayutika Nikai temple close to the Grand Palace, and Wat Bowonniwetwihan was not convenient for king and the royal families to travel back and forth, he then ordered that the new temple be built.  In the reign of King Rama V, the ashes of King Ramah IV were kept underneath the principal Buddha image in the Ubosot (the Ordination Hall).  The mural paintings in the Ubosot depict twelve royal ceremonies and a solar eclipse as memorial to King Rama IV's trip to observe the eclipse at Tambon Wako of Prachuap Khiri Khan province in 1868.  The term "Racha-" is also spelled "Raja" and therefore this Wat's name is also spelled Wat Rajapraditsathitmahasimaram Rajavaravihara.  Note that "wihan" can also be spelled "viharn" since the Thai pronunciation of 

วิหาร is sometimes spelled "viharn", using the German pronunciation for "v".

วัดราชประดิษฐสถิตมหาสีมาราม ราชวรวิหาร เป็นพระอารามหลวงชั้นเอก ชนิดราชวรวิหาร รัชกาลที่ ๔ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างขึ้นตาม พระราชดำริเพื่อประโยชน์ ๒ ประการ คือ ประการแก ให้เป็น พระอารามหลวงของพระมหากษัตริย์ เพื่อให้เป็นไปตาม พระราชประเพณีโบราณที่ว่า ในราชธานีจะต้องมีวัดสำคัญประจำ ๓ วัด ได้แก่ วัดมหาธาตุฯ วัดราชบุรณะฯ และ วัดราชประดิษฐฯ ประการที่สอง ให้เป็น วัดฝ่ายธรรมยุติกนิกาย ที่อยู่ใกล้กับพระบรมมหาราชวัง สะดวกสำหรับพระองค์ เจ้านายและข้าราชการฝ่ายหน้าฝ่ายในทั้งหลาไม่ต้องเดินทางไกลไปถึง วัดบวรนิเวศวิหารฯ ต่อมารัชกาลที่ ๕ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แบ่งพระบรมอัฐของรัชกาลที่ ๔ ไปบรรจุในพระพุทธอาสน์ของพระประธานในพระอุโบสถ จึงถือว่าเป็น วัดประจำรัชกาลที่ ๔ ด้านในพระวิหารมีจิตรกรรมภาพเขียนแปลกกว่าวัดอื่น คือ ผนังระหว่างหน้าต่างเป็น ภาพพระราชพิธี ๑๒ เดือน ส่วนที่ผนังหน้าพระประธานเป็น ภาพสุริยุปราคา มีคนกำลังส่องกล้องดูดาว ทำให้รำลึกถึงการเสด็จ พระรชดำเนินทอดพระเนตรสุริยุปราคา ทิ่ ตำบลห้ากอ จังหวัดประจบคีรีขันธ์ ในปี พ. ศ. ๒๔๑๑

Wikimapia location

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.