Wat Ku Padom, Near Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand Also spelled Wat Kupadom วัดกู่ป้าด้อม ใกล้เคียงเวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย |
|||||
<^>>>>^> | |||||
|
|||||
Wat Ku Padom, วัดกู่ป้าด้อม, is located just to the southwest of Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand. วัดกู่ป้าด้อม ใกล้เคียงเวียงกุมกามตำบลท่าวังตาลอำเภอสารภีจังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย From an historical marker at the site: The ancient monument under a sediment of sand here is called Wat Ku Padom, to honor the owner of the land. This temple was largely excavated in 1999-2003 and the excavation will continue until completion. Wat Ku Padom was a big temple, situated southwest of Wiang Kun Kam. The temple faced southeast. The grounds consisted of a Vihara, a Chedi and a worship alter, surrounded by a wall with a porch to the main gate. Outside the wall were a rite pavilion (Ubosot), another Vihara, a well and some other buildings. The Vihara behind the Chedi shows traces of several layers of construction. Importent ancient aratifacts found here included a stucco statue of an angel similar to those at Wat Jeyod (15th-16th centuries A.D.), Haripunchai-style terra-cotta Buddha amuletls (15th-16th centuries A.D.), a Lanna-style bronze Buddha head, Payao-style sandstone Buddha head (16th-17th centuries A.D.), and bowls from Lanna kilns (14th-17th centuries A.D.) Interesting art works found here include a stucco-work Magara (Makara) spewing a serpent from its mouth decorating both banisters of the stairway to the rite pavilion, the one situated to the east. The Magara is a mythical creature, a mixture of croccodile, porpoise and elephant, while the dragon or serpent is of Chinese inflence. This was the first time that this design appeared in Lanna (the ancient name of the northern part of Thailand). Apart from this, there are turned-up and inverted lotus-petal designs on the upper part of the lotus base of the rite pavilion's wall. Construction of the temple took place several times during the 16th-17th centuries A.D. โบราณสถานใต้ตะกอนหรายแม่งน้่ เรียกว่า "วัดกู่ป้าด้อม" เพื่อเป็นเกียรดิแก่เจ้าของที่ดิน วัดนี่ขุดแต่งและบูรณะระหว่างปี พ.ศ. ๒๕๔๒-๒๕๔๖ และจะต่อเนื่องไปจนกว่าจะแล้วเสร็จ วัดกู่ป้าด้อมเป็นวัดขนาดใหญ่อยู่ด่อนไปทางทิศตะวันดกเฉียงใด้ของเวียงกุกาม วัดหันหน้าไปทางทีศดะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วยวิหาร เจดีย์ แท่นบูชาล้อมรอบด้วยกำแพงแก้วที่มีทางเข้าเป็นซุ้มประตูโขง ด้านนอทนีโบสถ์ วิหาร บ่อน้ำ และอาคารอื่น ๆ อีกหลายหลัง วิหารที่อยู่ด้านหลังเจดีย์มีร่องรอยการก่อสร้างทับซ้อนกันทลายครั้ง โบราณวัตถุสำคัญที่พบได้แก่ เทวดาปูนปั้นลักษณะคล้ายกับที่วัดเจ็ดยอด (พุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๑) พระพิมพ์ดินเผาศิลปะหริภุญไชย (พุทธศตวรรษที่ ๒๐-๒๑) เครื่องถ้วยจากแหล่งเตาล้านนา (พุทธศตวรรษที่ ๑๙-๒๒) ศิลปกรรมที่น่าสนใจ ได้แก่ปูนปั้นรูปมกรคายม้งคร ประด้บราวบันได ทั้งสองข้างของโบสถ์หล้งทีอยู่ด้านทิศตะว้นอยก มกรเป็นสัตว่ในเทพนิยาย ผสมกันระหว่างจระเข้ ปลาโลมา และฃ้ง ปรากฎในศิลปครรมของประเทศแถบเยเชียอาคเนย์ ส่วนมังกรได้รับอิทธิพลจากศิลปะจีน ซึ่งนับเป็นแห่งแรกที่บ่รากฎประติมากรรมรูปนี้ในสถาปัตยกรรมของแผ่นดินล้านนา นอกจากนั้นได้พบลายปูนบั้นรูปกลีบบัวคว่ำ-บัวหงายนอบฐานปัทม์ตอนบน ก่อนถึงส่วนชองผนังโบสถ์ วัดนี้มีการก่อสร้างหลายครั้ง ระหว่างพุทธสตวรรษที่ ๒๐-๒๓ Wikimapia location |
|||||
Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats. All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved. |