Wat Nan Chang, Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand
Also spelled Wat Nanchang
วัดหนานช้ง เวียงกุมกาม ตำบลท่าวังตาล อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ ประเทศไทย
                    
<^>>>>^>
 

Wat Nan Chang Ruins (DTHCM0791)
วัดหนานช้ง ซากปรักหักพัง

Wat Nan Chang Wihan Ruins (DTHCM0792)
วัดหนานช้ง วิหาร ซากปรักหักพัง
Jian Zhe Li
วัดหนานช้ง

Wat Nan Chang Chedi Ruins (DTHCM0793)
วัดหนานช้ง เจดีย์ ซากปรักหักพัง

Wat Nan Chang Ruins (DTHCM0794)
วัดหนานช้ง ซากปรักหักพัง
 
Wat Nan Chang, วัดหนานช้ง, is located in Wiang Kum Kam, Tambon Tha Wang Tan, Saraphi District, Chiang Mai Province, Thailand.
วัดหนานช้ง อยู่ตำบลช้างคลานอำเภอสารภีจังหวัดเชียงใหม่ประเทศไทย

From an historical marker at the site:
     This ancient monument is evidence of flooding at Wiang Kum Kam in the past. The 1.80 meter deep layer of sand and soil sediments were excavated in 2002-2003, revealing ruins of buildings similar to other temples in Wiang Kum Kam. This temple is different in that there were two buildings from two different periods, one on top of the other.
     In the earlier period, a portion of the main gate and a wall had been build around a Vihara (Wihan) and a Chedi. In the second period, the grounds of the temple were extend by demolishing the rear wall and constructing more buildings. The excavation team found ruins of a building with a square outline with four arches with a pointed tip. The stairway of this building features Magara (a mythical creature with features partly of crocodile, porpoise and elephant) spouting a Naga's head from its mouth. This building was built on top of the demolished part of the wall from the earlier period. Also in the second period, the wall was extended to enclose all of the buildings.
     The temple was called Wat Nanchang to honor the ancestors of the owner of the land. One interesting thing about this temple is that it faces north while other temples face east. It is speculated that it was built to face the now dried-up route of the Ping River, which was a transportation and travel route of the time. Apart from the Magara at the stairway, other beautiful stucco designs of mythical creatures such as a Kilen (a Chinese nixed creature of dragon, deer, cow and horse), Haemarja (a mixed creature of lion and swan) and Singha (a lion). These were found under the middle of the pedestal base of the main Buddha image in the Vihara.
     In addition, some Chinese ceramics of the Ming Dynasty (AD 1368-1644) were found. These were divided into two groups. Group one consists of 47 pieces, neatly arranged in a jar and intentionally buried between the building with square structure and other buildings. This might have been because the people needed to escape from the water and later sediments from the flood buried the jar. One among the pieces from this first group of ceramics is a piece from the royal kiln of Emperor Ta Ming Wan Li (1573-1619 AD) whose reign was at the time Chiang Mai was under Burmese rule. The other group of ceramics consists of eight pieces buried in the flood sediments at the area thought to have been the earthen wall against the water north of the temple. These ceramics are evidence of Wiang Kum Kam's relationship with China and gave answers to many historical uncertainties about Wiang Kum Kam.
     The temple is dated to around the 16th-17th centuries AD.

     โบราณสถานข้างหน้านี้ เป็นตัวอย่างหนึ่งที่บ่งอกร่องรอยของอุทกภัยที่มีผลต่อเวียงกุามในอคีตกาลชั้นตะกอนทรายและชั้นคินี่ทับถมหนาถึง ๑.๘๐ เมตร ได้ถูกขุดค้ยในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๖ เปีคเผยให้เห็นซากของอาคารต่งๆ ที่เหมือนกันกับวัดอื่นๆ ในเวียงกุมกามจะต่างกันคือ ที่นี่มีการสร้างทับซ้อนกันอย่างน้อย ๒ สมัย
     สมัยแรด สร้างซุ้มประตูโขงและแนวกำแพงแก้วล้อมรอบวิหารและเจดีย์ สมัยต่อมามีการขยาขอบเขตของวัดออกไปด้วยการรึ้อกำแพงแก้วด้านหลังออกและสร้างอาคารต่างๆ ภายนอกเพิ่มเติมขึ้นมาโดยเฉพาะซากของอาคารทรงมณฑปหลังที่มีราวบับไดทางขึ้นเป็นปูนปั้นรูปมังกรคายนาคทับอยู่บน ส่วนของกำแพงแก้วที่รึ้อออกแล้วสร้างกำแพงแก้วต่อขยายออกไปล้อมอาคารต่างๆ ไว้โดยรอบ
     วัดนี้มีชื่อว่า "วัดหนานชาง" เป็นชื่อที่ตั้งขึ้นเพื่อให้เกียรติแก่บรรพบุรุษของเจ้าของที่ดิน ที่น่าสนใจอีกอย่างหนึ่งคือ วัดนี้ห้นหน้าไปทางทิศเหนือ ต่างจากวัดส่วนใหญ่ที่หันหน้าไปทางทิศะวันออกอาจเพราะสร้างเพื่อหันหน้าไปสู่เส้นทางสัญจรทางน้ำที่เรียกว่า "ปีงห่าง"
     ศิลปกรรมปูนปั้นสวยงามที่พบ นอกจากมังกรคายนาคที่กล่าวมาแล้ว ได้พบลายปูนปั้นรูปสัตว์ในเทพนิยาย เช่น กิเลน เหมราช สิงห์ บริเวณท้องไม้ด้านตะวันตกของฐานชุกชีบบนวิหรหลังใหญ่
     นอกจากนั้น ได้พบเครื่องลายครามสมัยราชวงศ์หมิงของจีน (พ.ศ. ๑๓๑๑-๒๑๘๗) จำนวน ๒ กลุ่ม รวม ๕๕ ใบ กลุ่มหนึ่งจำนวน ๓๗ ใบ บรรจุอย่างเป็นระเบียบในไหและฝังอย่างตั้งใจบริเวณระหว่างอาคารทรงมณฑปกับอาคารอื่นๆ อาจด้วยเหตุเพราะต้องอพยพจาหไปเพราะภ้ยสงครามก่อนหน้ถูกตะกอนทรายทบถมในเวลาต่อมา หนึ่งในำนวนภาชนะกลุ่มนี้เป็นผลิตภัณฑ์จากเตาเผาหลวงในสมัยจักรพรรดิ์ต้าหมิงวันลี่ (พ.ศ. ๒๑๑๖-๒๑๖๒) ซึ่งตรงกับสมัยที่พม่าปกครองเชียงใหม่ภาชนะอีกกลุ่มหนึ่งจำนวน ๘ ใบ ถูกฝังอยู่ในชั้นตะกอนทรายบริเวณที่ลันนิษฐานว่าเป็นผนังดินกั้นน้ำทงทิศเหนือของวัด นับเป็นหลักฐานที่แสดงความสัมพันธ์กับจีนและสามารถไขปัญหาได้หลายประการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ของเวียงกุมกาม
     กำหนดอายุของวัดนี้ในราวพุทธศตวรรษที่ ๒๑-๒๒

Wikimapia location

Scenic Photography by Gerry Gantt from Thailand, the land of Golden Wats.
All images Copyright © 1999 - by Gerry Gantt, all rights reserved.